ข่าวสารและบทความ
- อ่านต่อ >
เมื่อผู้ป่วยเป็นโรคที่รักษาไม่หาย คุณภาพชีวิตก่อนวันสุดท้ายจึงเป็นสิ่งสำคัญ
ในวันที่ต้องสูญเสียคนในครอบครัวจากโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ ‘นายแพทย์อุดมศักดิ์ บุญส่งทรัพย์’ หรือ ‘หมอเมี๊ยง’ แพทย์ออร์โธปิดิกส์ ประจำโรงพยาบาลเลย จังหวัดเลย จึงเริ่มตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่มากกว่าการยื้อลมหายใจ แต่ยังรวมถึงการดูแลคุณภาพชีวิต ลดความทุกข์ทรมานด้านร่างกาย...
- อ่านต่อ >
เราจะอยู่อย่างไร ในวัยชรา ?
ประเทศไทยเข้าสู่ ‘สังคมสูงวัย’ (Aging Society) ตั้งแต่ พ.ศ. 2548 ข้อมูลล่าสุดจากรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2563 จัดทำโดยมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย พบว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนประชากรผู้สูงอายุสูงถึง 12 ล้านคน จากประชากร 66.5 ล้านคน ซึ่งคิดเป็น 18% ของจำนวนประชากร...
- อ่านต่อ >
มันจะดีแค่ไหน ถ้าเราทุกคนมี 'หมอประจำตัว' ?
เมื่อยามเจ็บป่วย เชื่อว่าหลายคนเลือกไปโรงพยาบาลเพื่อรอพบแพทย์เฉพาะทาง แต่บางคนอาจประสบปัญหา ป่วยหลายอาการ ทำให้ต้องรอพบแพทย์เฉพาะทางหลายด้าน หรือบางคนกลับมารักษาอาการเดิมแต่พบหมอคนใหม่ ทำให้ต้องเริ่มซักประวัติ ตรวจร่างกายซ้ำ และเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น จะดีกว่าไหม ถ้าเราสามารถปรึกษาเรื่องสุขภาพได้...
- อ่านต่อ >
เมืองบอสตันกับการสร้างมหานครที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ ตอนที่ 1 : เมืองบอสตันกับสถานการณ์สังคมสูงวัย
บอสตันถือเป็นเมืองใหญ่แห่งหนึ่งของสหรัฐฯ เป็นเมืองหลวงของรัฐแมสซาชูเซตส์ นอกจากนี้ บอสตันยังเป็นเมืองหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดและมีความสำคัญในประวัติศาสตร์การสร้างชาติของชาวอเมริกัน ตัวอย่างเช่น เหตุการณ์ Boston Tea Party ในปี ค.ศ. 1773 ซึ่งพลเมืองชาวบอสตันโยนชาที่มากับเรือขนส่งสินค้าของบริษัทอีสต์อินเดียของ...
- อ่านต่อ >
เมืองบอสตันกับการสร้างมหานครที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ ตอนที่ 2 : เรียนรู้ความต้องการของชาวเมือง
หลังจากที่เมืองบอสตันได้กำหนดประเด็นการพัฒนาเมือง 8 เรื่องแล้ว ขั้นตอนสำคัญต่อไปในการออกแบบนโยบายให้ตอบโจทย์และยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้คน คือการเรียนรู้และทำความเข้าใจความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม เพื่อให้เข้าใจทั้งปัญหาของผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ องค์กรเอกชนที่ทำงานกับผู้สูงอายุ และความยากลำบาก...
- อ่านต่อ >
เมืองบอสตันกับการสร้างมหานครที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุตอนที่ 3 : พร้อมลงมือทำ
หลังจากประเมินความต้องการของชาวเมืองไปแล้ว ก็เข้าสู้ช่วงของการวางแผนลงมือทำเพื่อการพัฒนาเมืองให้เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ โดยในขั้นแรก ทีมงาน Age-Friendly Boston Initiative ได้รวบรวมคนมาเป็นคณะทำงาน 8 ชุด ตามประเด็นการพัฒนา 8 เรื่อง คณะทำงานแต่ละชุดประกอบด้วยคนจากภาคส่วนต่างๆ เช่น ...
- อ่านต่อ >
เมืองบอสตันกับการสร้างมหานครที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ ตอนที่ 4 : ติดตามความคืบหน้า
โครงการ Age-Friendly Boston กินเวลา 3 ปี แต่แทนที่จะประเมินผลโครงการครั้งเดียวในรอบสุดท้าย ทีมงานจะประเมินความคืบหน้าโครงการทุกปี และออกรายงานเพื่อบรรยายว่าเทศบาลบอสตันและพันธมิตรได้พัฒนาเมืองให้เป็นมิตรกับผู้สูงอายุแล้วในด้านไหนบ้าง และอย่างไร วิธีที่ใช้ติดตามการทำงานคือ โครงการ Age-Friendly ...
- อ่านต่อ >
เมืองบอสตันกับการสร้างมหานครที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ ตอนที่ 5 : เรียนรู้จากบอสตัน
เทศบาลนครบอสตันได้ออกเอกสาร Keys to Implementing Age-friendly Action: Lessons from Age-friendly Boston โดยเอกสารนี้ได้สรุปบทเรียนที่ได้ รวมถึงกุญแจที่นำไปสู่ความสำเร็จของโครงการ อาทิ การติดตามความคืบหน้าอย่างต่อเนื่อง, ยืดหยุ่นกับแผน, จัดอันดับความสำคัญ, อดทน (แต่สม่ำเสมอ), ฉลองความสำเร็จ แต่นอกจาก...