Policy Dialogue
โพลิซี ไดอะล็อก
กระบวนการหารือเชิงนโยบาย
นโยบายที่ดี สังคมต้อง
ร่วมกันออกแบบ
สร้างการมีส่วนร่วมที่เปิดกว้าง เปิดใจรับฟังความแตกต่าง ให้ผู้คนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นบนฐานความรู้และประสบการณ์ เพื่อร่วมออกแบบนโยบาย ให้เป็น ‘นโยบาย’ ของคนในสังคมอย่างแท้จริง
สวนสาธารณะพื้นที่ออกกำลังกาย
ขนส่งมวลชนเชื่อมต่อ
อากาศบริสุทธิ์ปลอดฝุ่นควัน
สวัสดิการค่ารักษาพยาบาล
เพราะนโยบาย
เกี่ยวข้องกับทุกมิติใน
ชีวิตของผู้คน
เราจะมีชีวิตที่ดีขึ้นได้ ก็ต้องอาศัยนโยบายสาธารณะ ที่ตอบโจทย์ สอดคล้องกับบริบท พร้อมรองรับ ความเปลี่ยนแปลงและความต้องการของสังคม
นโยบายเพื่อสังคมสูงวัย
แก่ตัวไปจะมีใครดูแลไหม?
ถ้าทำงานไม่ไหว จะมีกินมีใช้ หรือเปล่า?
รัฐจะดูแลเราอย่างไร ตอนเราอายุ 70 ปี?
ถ้าต้องอยู่บ้านพักคนชรา จะจ่ายไหวไหม?
หากเจ็บป่วยขึ้นมา ใครจะพาไปส่งโรงพยาบาล?
คำถามเหล่านี้ เป็นหนึ่งในโจทย์สำคัญของการพัฒนานโยบาย เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงเชิงระบบ กระบวนการหาคำตอบ จึงไม่ได้มีเพียงฝั่งผู้กำหนดนโยบาย แต่ยังมีเสียงจากผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง ภาครัฐ ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน และ ประชาชน ที่ล้วนเป็นผู้รับผลกระทบไม่ทางตรงก็ทางอ้อม
*Adapted from systemicdesigntoolkit.org
TGRI X RISE IMPACT
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) และ ไรซ์ อิมแพค ได้ร่วมกันออกแบบกระบวนการ พัฒนานโยบายเพื่อรองรับสังคมผู้สูงวัย โดยครอบคลุม 7 ประเด็นหลัก
Aging in Place
การสูงวัยในถิ่นที่อยู่อาศัยเดิมอย่างมีสุขภาวะ
สร้างการมีส่วนร่วม
เพื่อออกแบบนโยบาย
ในระยะเวลา 1 ปี
จัดวงหารือแบบออฟไลน์ และออนไลน์
0 ครั้ง
มีผู้เข้าร่วมที่
หลากหลายมากกว่า
0 คน
เกิด public engagement
ผ่านช่องทางออนไลน์
0 เว็บไซต์
มีผู้แสดงความคิดเห็นมากกว่า
0 คน